|
|
|
|
 |
|
ตำบลเนินมะปรางเป็นพื้นที่ภูเขา และที่ราบเชิงเขา ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าลุ่มน้ำวังทองฝั่งซ้าย และเขตอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง
พื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็นแหล่งเกษตรกรรม ได้แก่ ทำนาข้าว ไร่ข้าวโพด ไร่มันสำปะหลัง สวนมะม่วง สวนยางพารา และการเลี้ยงสัตว์ |
|
|
|
|
 |
|

 |
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือนมีนาคม - พฤษภาคม สภาพอากาศร้อน พื้นดินแห้งแล้ง แหล่งน้ำตื้นเขิน |

 |
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนมิถุนายน - ตุลาคม สภาพอากาศฝนตกชุก ลมพัดแรงและมีน้ำป่าไหลบ่า บางครั้งเกิดน้ำท่วมไร่นาเสียหาย |

 |
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ สภาพอากาศหนาวเย็น |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|
ประชาชนส่วนใหญ่จะประกอบ อาชีพ เกษตรกรรมได้แก่ ทำนาข้าว ไร่ข้าวโพด ไร่มันสำปะหลัง สวนมะม่วง
สวนยางพารา และการเลี้ยงสัตว์และมีส่วนน้อยที่ไปรับจ้าง |
|
|
|
|
 |
|
ประชากรส่วนใหญ่ในเขตพื้นที่ตำบลเนินมะปราง นับถือศาสนาพุทธ |

 |
วัดและสำนักสงฆ์ |
จำนวน |
17 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|

 |
ศูนย์สุขภาพชุมชน |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
กองทุนหลักประกันสุขภาพ |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
|
 |
|

 |
ศูนย์ อปพร. อบต.เนินมะปราง |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
ชุดรักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน |
|
|
จำนวน |
9 |
หมู่บ้าน |
|
|
|
|
|
|
|
 |
|

 |
ป่าไม้ ป่าไม้เบญจพรรณ อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติ ป่าลุ่มน้ำวังทองฝั่งซ้าย และเขตอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง |

 |
ภูเขา ในพื้นที่เป็นที่ราบระหว่างภูเขา และส่วนมากเป็นภูเขาหินปูน |

 |
ดิน เป็นดินร่วนปนทรายและลูกรัง พื้นที่เหมาะแก่การทำเกษตรกรรม |
|
|
|
|
|
 |
|
โรงเรียนประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง |

 |
โรงเรียนบ้านใหม่ทองประเสริฐ |

 |
โรงเรียนบ้านหนองขอนประชาสรรค์ |

 |
โรงเรียนบ้านเนินดินราษฏร์อุทิศ |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 1 แห่ง |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลเนินมะปราง |
|
|
|
|
|
|
ประเพณี |

 |
ประเพณีสงกรานต์ |

 |
ประเพณีลอยกระทง |

 |
ประเพณีแห่ประสาทผึ้ง |

 |
ประเพณีการทำบุญกลางบ้าน |
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
|
 |
|
|
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่นและภาษาถิ่น |
|

 |
กลุ่มเครื่องจักรสาน การจักรสานหวดนึ่งข้าว การสานกระติบข้าวเหนียว หมู่ที่ 4,5 |
|

 |
กลุ่มทำดอกไม้ประดิษฐ์ จากวัสดุเหลือใช้ หมู่ที่ 3 |
|

 |
กลุ่มทำกระเป๋าและตระกร้าด้วยเชือกร่ม หมู่ที่ 1,2 |
|

 |
กลุ่มทำขนมกล้วยฉาบ หมู่ที่้ 2 |
|

 |
กลุ่มผลไม้แปรรูป มะม่วงแผ่น มะม่วงแช่อิ่ม หมู่ที่ 3,9 |
|

 |
กลุ่มผลิตไม้กวาดจากดอกหญ้า หมู่ที่ 9 |
|
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก |
|

 |
เครื่องจักรสาน การจักรสานหวดนึ่งข้าว การสานกระติบข้าวเหนียว ดอกไม้ประดิษฐ์ กระเป๋าและตะกร้าด้วยเชือกร่ม ไม่กวาดดอกหญ้า ขนมกล้วยฉาบ มะม่วงแผ่น |
|
ภาษาถิ่น |
|

 |
ภาษาถิ่น คือ ภาษาอิสาน (ไทยหล่ม) ประชากรส่วนใหญ่อพยพมาจาก ภาคอิสานตอนเหนือคือบริเวณจังหวัดเลย จังหวัดเพชรบูรณ์ |
|
|
|
|
|
|
 |
คู่มือประชาชน |
|
|
|
 |
การจัดการองค์ความรู้
ภายในองค์กร |
|
|
|
|
|